ตู้คอนเทนเนอร์ Durable Packing มีวัสดุที่ทำมาจากเหล็ก หรืออลูมิเนียม มีขนาด 20 – 40 ฟุต โดยการขนส่งทางตู้จัดเป็นการขนส่งที่ได้รับความนิยมและมีความปลอดภัยสูงที่สำคัญยังมีค่าใช้จ่ายต้นทุนในการส่งที่น้อยแต่สามารถที่จะส่งได้ที่ครั้งละมากๆ หลักๆการส่งด้วยตู้จะทำได้หลายช่องทางไม่ว่าจะเป็นทางเรือที่ขนส่งได้ครั้งละมาก หรือรถไฟเมื่อไม่ได้ส่งข้ามประเทศ อีกช่องทางคือการขนส่งทางรถพ่วงโดยจะเป็นการขนส่งผ่านตัวเมืองในระยะที่ไม่ไกลมาก ลักษณะของ ตู้คอนเทนเนอร์ที่ได้มาตรฐานต้องมีโครงสร้างภายนอกที่แข็งแรง เพราะการขนส่งทางเรือนั้นต้องนำตู้มาเรียงซ้อนกันหลายๆชั้น จึงจะยึดแต่ละตู้ติดกัน ตัวตู้คอนเทนเนอร์จะมีหมายเลขบอกถึงความหนักของตู้กับความจุสูงสุดและประเภทของที่อยู่ในตู้ ซึ่งตู้จะมีประตูสองบาน เหลักจากใส่ของในตู้หมดแล้วจะมี Plastic ล็อกที่ประตู้อีกที ประเภทของตู้สิ้นค้าแบ่งออกได้ดังนี้ – Flat-rack เป็นตู้ที่มีความราบเรียบที่มีขนาดกว้างยาวตาม ไซส์ ของตู้คอนเทนเนอร์ มองภายนอกจะเป็นตู้คอนเทนเนอร์ แตกต่างตรงที่จะมีพื้นที่พิเศษ เช่น รถแทรกเตอร์ , ประติมากรรม , แท่งหิน , เครื่องจักรเป็นต้น โดยการขนส่งของหนักแบบนี้ต้องอาศัยเรื่อง Coventional Ship – Open Top เป็นตู้ที่มีขนาดใหญ่ ที่ไม่มีหลังคาเพราะต้องว่างสินค้าขนาดใหญ่ สิ้นค้าประเภทนี้ส่วนใหญ่ประเป็นรถหรือเครื่องจักรที่มีขนาดใหญ่ ไม่สามารถที่จะเข้าผ่านประตูได้ต้องอาศัยการยกวางจากด้านบน – Garment Container ตู้คอนเทนเนอร์รูปแบบนี้จะมีการออกแบบมาไว้สำหรับขนส่งเสื้อภาพโดยเฉพาะ เพราะได้ออกแบบให้มีราวแขวนเสื้อ จะเป็นสิ้นค้าประเภทเสื้อเครื่องแต่งกายตามแฟชั่น เป็นต้น …
ประเภทของตู้คอนเทนเนอร์ และข้อดีของการขนส่งทางตู้
